Knowledge Base
3D Printing Composite Materials with Markforged
เทคโนโลยีเครื่องพิมพ์ 3 มิติวัสดุคอมโพสิตหรือ Continuous Fiber Fabrication (CFF) ช่วยให้ผู้ใช้งาน 3D Printer สร้างชิ้นงานจากวัสดุคอมโพสิตเกรดอุตสาหกรรมเช่น Carbon Fiber, Kevlar หรือ...
Chopped Carbon Fiber vs Continuous Carbon Fiber ต่างกันอย่างไร?
วัสดุพิมพ์ 3 มิติชนิดคอมโพสิตเช่น Carbon Fiber หรือ Fiberglass เป็นวัสดุพิเศษที่มีความแข็งแรงทนทานเหนือวัสดุพลาสติกทั่วไปเช่น ABS และ PLA หลายเท่าตัว ทำให้วัสดุกลุ่มนี้เป็นที่ต้องการสูงในงานวิศวกรรมที่ต้องการชิ้นส่วนที่แข็งแรงและน้ำหนักเบา อย่างไรก็ตามวัสดุคอมโพสิตในตลาดมีหลายประเภทและยี่ห้อซึ่งอาจทำให้ผู้ใช้งานเกิดความสับสนได้ ในบทความนี้เราได้สรุปข้อแตกต่างของวัสดุคอมโพสิตสำหรับ...
HP Jet Fusion 3D Printing Solution: โซลูชั่นเครื่องพิมพ์ 3 มิติครบวงจร
HP Jet Fusion 3D Printing Solution โซลูชั่นเครื่องพิมพ์ 3 มิติระดับอุตสาหกรรมที่ครบวงจรที่สุด ออกแบบให้ใช้งานง่าย ครอบคลุมการทำงานทุกขั้นตอนตั้งแต่การเตรียมไฟล์ 3D จนถึงการผลิตชิ้นงานจริง ช่วยเพิ่มผลผลิตด้วย Workflow...
HP Multi Jet Fusion: เทคโนโลยีเครื่องพิมพ์ 3 มิติแห่งอนาคต
เทคโนโลยี Multi Jet Fusion ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อก้าวข้ามขีดจำกัดเดิมๆของเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ในด้านคุณภาพ ความเร็ว และต้นทุน เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของอุตสาหกรรมผู้ผลิตชิ้นส่วน จำเป็นต้องพัฒนาแนวคิดและเทคโนโลยีขึ้นมาใหม่ ซึ่งแนวคิดดังกล่าวเริ่มต้นจากองค์ประกอบพื้นฐานส่วนที่เล็กที่สุด นั่นก็คือ HP...
3D Printer มีประโยชน์กับธุรกิจอย่างไร?
ในปี 2017 จำนวนยอดขาย 3D Printer ทั่วโลกพุ่งทะยานถึงเกือบ 500,000 เครื่อง เป็นอัตราการเติบโตถึง 52% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า (ข้อมูลจาก 3D Printing Industry)...
วิธีปรับระดับฐานพิมพ์ UP 3D Printer Build Platform Calibration
"การปรับระดับฐานพิมพ์" เป็นขั้นตอนสำคัญในการใช้งานเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ฐานพิมพ์ที่ปรับระดับไว้ไม่ดี เป็นสาเหตุอันดับต้นๆที่ทำให้งานพิมพ์เสียหาย ในบทความนี้เราจะมาแชร์วิธีการปรับระดับฐานพิมพ์เครื่อง UP mini 2 และ UP BOX+ 3D Printer...
3D Printer กับ CNC ต่างกันอย่างไร?
CNC (Computer Numerical Control) Machining เป็นเทคโนโลยีการผลิตชิ้นงานโดยเครื่องจักรอัตโนมัติ ทำงานโดยใช้หัวกัดหรือดอกสว่านเพื่อสกัดเนื้อวัสดุออกจากบล็อกชิ้นงาน เพื่อให้ได้รูปทรงชิ้นงานที่ต้องการ เครื่อง CNC จึงเป็นตัวอย่างของการผลิตแบบ Subtractive Manufacturing (การผลิตโดยการลบวัสดุออก) สามารถสร้างชิ้นงานได้จากหลายวัสดุเช่นไม้...
ลดมลพิษจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติด้วย HEPA Filter
เครื่องพิมพ์ 3 มิติ (3D Printer) ชนิดตั้งโต๊ะส่วนใหญ่มีกระบวนการทำงานแบบ FDM ซึ่งขึ้นรูปชิ้นงานโดยใช้วิธีละลายพลาสติก ทำให้เกิดกลิ่นควันไม่พึงประสงค์จากการละลายพลาสติกที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ใช้งาน ทีมงานนักวิจัย Built Environment Research Group จาก...
เปรียบเทียบเส้นพลาสติก UP! vs X3D ABS/PLA Filament
มีคำถามจากหลายๆท่านว่าเส้นพลาสติก ABS/PLA ของยี่ห้อ UP ต่างกับ ABS/PLA ยี่ห้อ X3D อย่างไร? วันนี้เราจึงนำชิ้นงานที่พิมพ์จากวัสดุทั้งสองชนิดมาเปรียบเทียบให้ดูกันชัดๆ โดยชิ้นงานทุกชิ้นพิมพ์ด้วยเครื่อง UP BOX+ ที่ความละเอียด 0.2...
วิธีสร้างชิ้นงานโลหะด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ / Making Metal Parts with 3D Printing
การขึ้นรูปชิ้นงานโลหะมีอยู่หลากหลายกระบวนการ ทั้งการหล่อขึ้นรูป การปั๊มขึ้นรูป หรือการขึ้นรูปโดยเครื่องจักร (Machining) ในบทความนี้เราจะแนะนำการใช้เทคโนโลยี 3D Printing ในการผลิตชิ้นงานโลหะด้วยวิธีต่างๆ และเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียของแต่ละวิธี เพื่อที่จะเลือกเทคนิคการผลิตได้อย่างเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ การพิมพ์ 3 มิติ (3D...
วิธีลดต้นทุนการพิมพ์งาน 3 มิติ / Reducing cost of 3D Printing
"การพิมพ์งานด้วย 3D Printer มีต้นทุนเท่าไหร่?" เป็นคำถามที่เราได้รับจากลูกค้าและผู้สนใจหลายๆคน คำตอบคือ "ค่อนข้างถูก" เมื่อเทียบกับวิธีการผลิตด้วยเครื่องจักรประเภทอื่น เนื่องด้วย 3D Printer และวัสดุพิมพ์มีราคาถูกลงอย่างมาก และเพราะการพิมพ์ 3 มิติเป็นกระบวนการผลิตที่ใช้แรงงานคนน้อย...
3D Printer แบบตั้งโต๊ะ ต่างกับ 3D Printer แบบอุตสาหกรรมอย่างไร? (FDM)
ทุกวันนี้เครื่องพิมพ์ 3 มิติ (3D Printer) เริ่มเข้ามามีบทบาทในธุรกิจ อุตสาหกรรม และสังคมไทยมากขึ้น สังเกตุได้จากจำนวนผู้ผลิตเครื่อง 3D Printer ในตลาดที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงที่ผ่านมา เมื่อมีเครื่องพิมพ์หลายประเภทให้เลือก ก็มักเกิดคำถามตามมาว่าเครื่องแต่ละแบบต่างกันอย่างไร ทำไมเครื่องพิมพ์บางรุ่นราคาถูกกว่าไอโฟน...